สมัยนี้มี GUI (Graphic User Interface) ทำให้ใช้งานง่ายขึ้น แต่สำหรับผู้ดูแลระบบแล้ว

คำสั่งแบบ Command Line ก็ยังเป็นประโยชน์ในการเขียน script อยู่

คำสั่งที่ทั่วไป

uname
การแสดงรายละเอียดของเครื่อง


pwd
แสดงตำแหน่งปัจจุบัน


ls
แสดงรายชื่อไฟล์ ไดเร็คทอรี่ ในรูปแบบต่างๆ


cd
คือการ access เข้าไปยังไดเร็คทอรี่


cd ..
การถอยออกจากไดเร็คทอรี่ที่อยู่ปัจจุบัน หนึ่งไดเร็คทอรี่


tty
การแสดงหน้าจอที่กำลังใช้งานอยู่


whoami
แสดงว่าตัวเองเป็น user อะไร


cp
การสำเนาไฟล์


mv
การย้ายไฟล์


mkdir
การสร้างไดเร็คทอรี่


touch
การสร้างไฟล์


rm
การลบไฟล์


rmdir
การลบไดเร็คทอรี่


history
การแสดงคำสั่งที่เราได้ใช้ไปแล้ว


man
เป็นการขอตัวช่วยหรือเป็นการดูเอกสารของคำสั่งนั้นๆ


reboot
การ restart เครื่อง


init 0
การปิดเครื่อง


date
การแสดงวัน


cal
การแสดงปฏิทิน


finger
การแสดงรายชื่อ user ที่กำลังอยู่ในระบบขณะนี้


exit
การออกจาก shell ปัจจุบัน


fdisk
การจัดการเกี่ยวกับ partition


cat
เป็นการดูเนื้อหาของไฟล์ที่ต้องการเช่น cat /etc/passwd


find
เป็นการค้นหาไฟล์


grep
เป็นคำสั่งในการหาข้อความในบรรทัด


gzip
เป็นการลดขนาดไฟล์


gunzip
เป็นการยกเลิกการลดขนาดไฟล์


chmod
เป็นการกำหนดค่าที่เซตใน Owner-Group-Other


chown
เป็นการเปลี่ยนมือเจ้าของ


chgrp
เป็นการเปลี่ยนกลุ่ม


mount
เป็นคำสั่งที่เมาท์อุปกรณ์ หรือพาร์ติชั่น
โดยมีรูปแบบดังนี้ mount options device directory


umount
เป็นการยกเลิกการเมาท์


fsck
เป็นการตรวจสอบไฟล์ หรือย่อจาก File System Checking


df
เป็นคำสั่งที่ดูเนื้อที่ว่างบนระบบไฟล์ที่เมาท์


du
เป็นการดูเนื้อที่ว่างบนไดเรคทรอรี่ที่ใช้อยู่


ps
แสดงงานที่เปิดอยู่ หรือกระบวนการที่ทำงาน


kill
เป็นคำสั่งที่ยกเลิกการทำงานของกระบวนการ


logout
เป็นคำสั่งที่ออกจากระบบ ใช้ได้ต่อเมื่ออยู่ใน Shell


free
เป็นการแสดงสถานะของเมมโมรี่ และเนื้อที่ว่างบนเมมโมรี่
ทั้งกายภาพ ที่ใช้ ใน swap, และบัฟเฟอร์


mke2fs
เป็นคำสั่งฟอร์แมตดิสก์พร้อมใส่ระบบไฟล์ไปด้วย


lpr
เป็นการส่งงานพิมพ์จากเครื่องลูกข่าย


top
เป็นคำสั่ง Monitor System

0 ความคิดเห็น:

Post a Comment